ECB และแนวคิดการปรับดอกเบี้ยเงินฝาก

อัตราผลตอบแทนดอกเบี้ยพันธบัตรสหรัฐลดลงครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2016 และแม้แต่เมื่อวานยังลดลงต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรของญี่ปุ่นด้วย ภายหลังการแสดงความเห็นของคุณ Draghi ประธาน ECB แนะนำว่าได้เวลาแล้วที่จะต้องมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรก และอาจผลักดันให้มีการเพิ่มขึ้นไปอีก

และดูเหมือนคำแถลงนี้จะมีผลให้ธนาคารกลางมีรายงานออกมาว่ากำลังใคร่ครวญคำแนะนำที่จะทำระบบขั้นบันไดสำหรับดอกเบี้ยเงินฝาก เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบจากนโยบายอัตราดอกเบี้ยติดลบ ภายหลังตลาดมีการตอบรับว่านี่อาจเป็นสัญญาณที่ ECB จะผลักดันใช้เป็นนโยบายปกติต่อไป ซึ่งส่งผลให้ตลาดมีความกังวลต่อความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจมากขึ้น

อย่างไรก็ตาม ขณะที่ความเห็นอย่างเป็นทางการจากเจ้าหน้าที่ยืนยันชัดเจนว่า ที่จริงการพูดคุยเรื่องอัตราดอกเบี้ยเงินฝากยังไม่มีผล ความเสียหายจากภาวะถดถอยยิ่งทำให้ ECB ต้องเร่งการขึ้นอัตราดอกเบี้ย

ค่อนข้างแน่ชัดว่ามีความกังวลต่อผลข้างเคียงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเป็นลบ ซึ่งมองเห็นผลกระทบตั้งแต่ปีที่แล้ว  ตามที่มีการถกเถียงของ Nowotny ที่ว่าต้องขึ้นดอกเบี้ยให้เร็วขึ้นไม่ใช่ขึ้นทีหลัง

ความอ่อนแอใหม่ของเศรษฐกิจและความจริงเกี่ยวกับความตึงเครียดทางการค้าและการเมือง  จะเป็นตัวรักษาสมดุลความเสี่ยงขาลง นั่นหมายความว่าประธาน Draghi นอกจากจะต้องผลักดันนโยบายให้เป็นปกติแล้ว ยังถูกบีบให้เกิดความกังวลอีกครั้ง และในขณะที่ ECB ไม่ใช่ผู้เดียวที่คุมกฏการขึ้นอัตราดอกเบี้ยในปีนี้ แต่ก็ยังคงมีการประกาศให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำแก่ธนาคารพาณิชย์รอบใหม่ (TLTRO) นี้เป็นการชี้วัดได้ว่าโดยหลักแล้วเป็นการช่วยเหลือธนาคาร โดยเฉพาะระบบธนาคารของอิตาลี่ มากกว่าจะเป็นการชี้ถึงปัญหาของดอกเบี้ยเงินฝากเป็นลบ

อิตาลี่เป็นผู้รับประโยชน์โปรแกรม TLTRO รอบสอง แต่เพียงผู้เดียว ประมาณการอยู่ที่ 241 พันล้านยูโร และรวมถึงสินเชื่อส่วนใหญ่ของรอบที่แล้วกำลงเป็นที่จับตา มันเป็นที่ชัดเจนแล้วว่าการบริหารจัดการโปรแกรมนี้รวมถึงความจำเป็นในการรีไฟแนนซ์จะเป็นเรื่องสำคัญและเป็นตัวแปรที่ท้าทายต่อระบบธนาคารของอิตาลี่ ความล้มเหลวของกลุ่มธนาคารเพียงพอให้เป็นประเด็นที่จะพูดถึงสินเชื่อด้อยคุณภาพขนาดใหญ่ มีความจริงบางอย่างที่ว่าอิตาลี่คือตัวเชื่อมโยงระหว่างประเทศและหนี้สินธนาคารที่ยังไม่ได้ตัดขาดอย่างสิ้นเชิง นั่นหมายความว่านี่เป็นประเด็นกระทบมากกว่าแค่ธนาคารอิตาลี่และภาคการเงิน

บรรยากาศของอัตราดอกเบี้ยติดลบกระทบธนาคารและผู้ประกันตนในไม่กี่ประเทศหลักๆ โดยเฉพาะประเทศเยอรมัน ที่ซึ่งไม่ใช่แค่ผู้ทำประกันชีวิตและกองทุนเลี้ยงชีพที่ได้รับผลกระทบ ธนาคารเองก็ต้องดิ้นรน ผู้ดูแลความเสี่ยงพยายามสร้างกองทุนส่วนตัวเพื่อการเกษียณ ก็โดนแล้วเช่นกัน ในขณะที่ธนาคารต้องจ่าย -0.4% เพื่อหยุดสภาพคล่องกับธนาคารกลาง พวกเค้าไม่สามารถส่งผ่านดอกเบี้ยเป็นลบสู่ลูกค้ารายย่อย

และนี่ไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะกับเยอรมัน ฝรั่งเศส ออสเตรีย ดูเหมือนจะมีความกังวลเหมือนกันต่อภาวะยืดเยื้อของดอกเบี้ยเงินฝากเป็นลบ อ้างอิงตามผู้นำธนาคารกลางของแต่ละประเทศ

ไม่ใช่ทุกคนที่เห็นด้วย และคุณ Knot ประธานธนาคารกลางเนเธอร์แลนด์กล่าววันนี้ว่า “ไม่สำคัญว่ารูปแบบที่คุณเสนอมาจะเป็นแบบไหนคุณกำลังยกเว้นธนาคาร โมเดลธุรกิจที่แน่นอนจากผลดอกเบี้ยติดลบ ซึ่งคุณกำลังบอกให้ทุกธนาคารใช้โมเดลธุรกิจที่แตกต่างกันโดยที่พวกเค้าต้องแบกรับค่าใช้จ่ายนานขึ้น”  จุดหนึ่งที่ถูกต้องแม้ถ้าคุณจะสันนิษฐานว่าระบบดอกเบี้ยตามขั้นบันไดจะไม่มาคู่กันเพื่อเป็นการผลักดันให้ขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรก แต่มันได้บ่งบอกความจริงที่ว่า ECB ได้มีการเปลี่ยนเวลาในการประชุมครั้งหลังสุดนี้ ความจริงที่หลงเหลือไว้คือมีบางธนาคารที่ได้ประโยชน์มากกว่าธนาคารอื่น และดูเหมือนโมเดลธุรกิจที่ได้รับการสนับสนุนมีแนวโน้มว่าเป็นประเทศที่สัมพันธ์กัน

ดังนั้นปัญหาที่ ECB ยังคงมีอยู่ และถูกนำไปใช้ชี้วัดนโยบายคือ ไซส์เดียวแต่ใช้ร่วมกับทุกนโยบายการเงินจึงต้องดิ้นรนต่อไป ด้วยความจริงที่ว่า ด้วยความเคารพ ความแตกต่างระหว่างแต่ละประเทศยังคงเป็นดังเดิมเหมือนเมื่อครั้งที่เริ่มก่อตั้งยูโรโซน จึงเป็นเหตุผลที่ว่าทุกมาตรการกระทบหรือเป็นประโยชน์ต่อทุกประเทศอย่างเท่าเทียม

ตามที่สินเชื่อ TLTROs เป็นประโยชน์ต่อธนาคารอิตาลี่ โดยเฉพาะผลประโยชน์ต่อประเทศ จึงดูเหมือนว่าการพิจรณาเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่จะแจ้งถึงผลข้างเคียงจากอัตราดอกเบี้ยเป็นลบจะถูกกระชับในสัปดาห์ที่จะมาถึงนี้ และก่อนการประชุมในเดือนมิถุนายน ในขณะที่มีการคาดการณ์ว่า ECB จะมีการประกาศรายละเอียดของสินเชื่อดอกเบี้ยถูกรอบใหม่ ซึ่งจะเริ่มในเดือนพฤษจิกายน

สัปดาห์ที่ผ่านมาตลาดตอบสนองต่อความเห็นของ Draghi ในเรื่องไหนบ้าง และรายงานความเป็นไปได้ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากขั้นบันไดได้แสดงให้เห็นแล้วว่า มันจะมีความยุ่งยากในการประกาศโดยที่ตลาดยังไม่พร้อมที่จะให้มีการขึ้นอัตราดอกเบี้ย ณ ทางแยกนี้เองมันจึงกลายเป็นความเสี่ยง

ที่จริงแล้วความมั่นใจของตลาดดูเหมือนจะดีขึ้นในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ในสถานการณ์ที่การเติบโตลดลง ยกระดับให้ธนาคารกลางหลักๆ ได้เห็นแล้วว่านักลงทุนได้มองหาความปลอดภัยอีกครั้ง และผลลัพท์คือเสมอตัว หรือแปรผกผันกับ yield curves ซึ่งถูกมองเป็นดัชนีชี้วัดความถดถอยทางเศรษฐกิจ ดังนั้นสิ่งนี้จึงอาจคุกคามวัฎจักรที่มั่นคงโดยตัวมันเอง

การขายทุกอย่างเพื่อแลกกับดอกเบี้ยเงินฝาก และหากปราศจากการแทรกซ้อนจากความเสี่ยงอื่น จะกลายเป็นความท้าทายสำหรับ Draghi และ ECB จะหาทางลงด้วยวิธีนี้หรือไม่

คลิก ที่นี่ เพื่อดูปฎิทินเศรษฐกิจ

Andria Pichidi

Market Analyst

คำเตือน: บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อการสื่อสารด้านการตลาดทั่วไปเท่านั้น ไม่ใช่การวิจัยเพื่อการลงทุน และไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของบทความนี้ที่ประกอบด้วยคำแนะนำเพื่อการลงทุนหรือถูกพิจรณาว่าเป็นคำแนะนำเพื่อการลงทุน หรือชักชวนให้ซื้อหรือขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ข้อมูลทั้งหมดนี้ถูกรวบรวมจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และทุกข้อมูลประกอบด้วยผลงานในอดีตที่ไม่สามารถรับประกัน หรือชี้วัดผลงานในอนาคตได้ ผู้ใช้ต้องเข้าใจว่าการลงทุนใน FX และผลิตภัณฑ์ CFDs มีลักษณะเฉพาะที่มีระดับความเสี่ยงสูง ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องแบกรับความเสี่ยงแต่เพียงผู้เดียว ทางเราจะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายจากการลงทุนใดๆ ที่เกิดจากการนำข้อมูลนี้ไปใช้ ข้อมูลนี้จะต้องไม่มีการผลิตซ้ำหรือแจกจ่ายโดยปราศจากการได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร